โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโป่ง
รับผิดชอบทั้งหมด 9 หมู่บ้าน จำนวนหลังคาเรือน 2,325 หลังคาเรือน
ระยะทางห่างจากโรงพยาบาลเสริมงามประมาณ 15 กิโลเมตร มีถนนสายหลักคือถนนสายลำปาง-ลี้
ตัดผ่านเป็นถนนหลัก ถนนรองเป็นถนนคอนกรีตในหมู่บ้าน ประชาชนส่วนใหญ่
มีอาชีพทำนา ทำสวน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นชนบท
มีอาชีพทำนา ทำสวน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นชนบท
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโป่ง
ซึ่งได้รับการยกฐานะเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลรับผิดชอบทั้งหมด 9 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 5,310 คน ดังต่อไปนี้
หมู่ที่ 2 บ้านสบแม่ทำ หมู่ที่
3 บ้านนาจะลา
หมู่ที่
4 บ้านนาไผ่ หมู่ที่ 5
บ้านท่าโป่ง
หมู่ที่
6 บ้านนาเดา หมู่ที่ 7
บ้านน้ำหลง
หมู่ที่
8 บ้านนาสันติสุข หมู่ที่ 9
บ้านดงหนองจอก
หมู่ที่
10 บ้านนางอย
มีหน่วยงานราชการและสถานที่สำคัญดังนี้
สถาบันการศึกษาในตำบลเสริมซ้าย
มีอยู่ทุกระดับตั้งแต่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 4 แห่ง
โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง โรงเรียนระดับประถมศึกษา
(ขยายโอกาส) จำนวน 1 แห่ง นอกจากนี้ยังมีศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน
จำนวน 1 แห่ง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
สังกัดเทศบาลตำบลเสริมซ้าย จำนวน 4 แห่ง ดังนี้
1.
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาไผ่
2.
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าโป่ง
3.
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาเดา
4.
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดม่วงชุม
โรงเรียน ที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลเสริมซ้าย จำนวน 3 แห่ง ดังนี้
1.
โรงเรียนวัดสบแม่ทำ
2.
โรงเรียนเสริมซ้ายวิทยา
3.
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 47 (บ้านนาเดา)
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลเสริมซ้าย
จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนตำบลเสริมซ้าย
วัด จำนวน 7 วัด ได้แก่
1.
วัดม่วงชุม ตั้งอยู่หมู่ที่
2 บ้านสบแม่ทำ
2.
วัดบ้านนาศาลา ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านนาจะลา
3.
วัดดอยเงิน ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านท่าโป่ง
4.
วัดพระธาตุดอยเงิน ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านท่าโป่ง
5.
วัดนาเดา ตั้งอยู่หมู่ที่
6 บ้านนาเดา
6.
วัดนทีวังการาม ตั้งอยู่หมู่ที่
7
บ้านน้ำหลง
7.
วัดนางอย ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านนางอย
เทศบาลตำบลเสริมซ้าย
ประชากร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าโป่ง
รับผิดชอบทั้งหมด 9
หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด
5,310 คน แยกเป็นประชากรเพศชาย จำนวน 2,594 คน เพศหญิง จำนวน 2,839 คน ลักษณะประชากรเป็นชาวพื้นเมืองภาคเหนือ ใช้ภาษาไทยเหนือเป็นภาษาประจำถิ่น มีวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นล้านนาเหมือนกันทั้งหมด
แผนที่
5,310 คน แยกเป็นประชากรเพศชาย จำนวน 2,594 คน เพศหญิง จำนวน 2,839 คน ลักษณะประชากรเป็นชาวพื้นเมืองภาคเหนือ ใช้ภาษาไทยเหนือเป็นภาษาประจำถิ่น มีวัฒนธรรมและประเพณีที่เป็นล้านนาเหมือนกันทั้งหมด
แผนที่